Posterior Tibial Tendon Dysfunction คือ, Tibialis Posterior Dysfunction, Tibialis Posterior Dysfunction คือ, ปวดน่องเกิดจาก, ปวดตาตุ่มด้านในเกิดจาก, ปวดหน้าแข้งหลังจากวิ่ง, ปวดหน้าแข้งด้านในเกิดจาก, ปวดข้อเท้าด้านใน, กล้ามเนื้อ Tibialis Posterior

new-world-4-เฉลย

เท้าแบนแบบยืดหยุ่น (Functional Flatfoot) การเลือกใส่รองเท้าที่มีการเสริมความโค้งของอุ้งเท้า แต่ในทางการรักษาจะทำได้โดยการทำแผ่นรองในรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเฉพาะบุคคลเพื่อรองรับกระดูกเท้าพร้อมกับการเสริมอุ้งเท้า รวมทั้งการพลิกมุมกระดูก กล้ามเนื้อเท้า เอ็นร้อยหวาย และกล้ามเนื้อน่อง ให้อยู่ในแนวเส้นตรง จะช่วยให้เวลายืนหรือเดิน ข้อเท้าจะอยู่ในแนวเส้นตรง และหากใส่เป็นประจำ จะสามารถสร้างให้อุ้งเท้ามีกลับมาได้และกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องทำงานได้อย่างเหมาะสม แผ่นรองในรองเท้าสำหรับผู้ป่วยเท้าแบน 1. แผ่นลดการลงน้ำหนักที่จมูกเท้า (Metatarsal Pad) เนื่องจากคนเท้าแบนส่วนใหญ่มีอุ้งเท้าที่แบนราบ และแนวการเดินของเท้าที่มีแนวแรงการลงน้ำหนักค่อนเข้ามาทางฝั่งด้านในมากกว่าปกติ จึงเป็นผลให้จมูกเท้าที่ 1-3 (1st – 3rd Metatarsal Head) มีการลงน้ำหนักที่มากกว่าปกติ การเสริมแผ่นลดการลงน้ำหนักที่จมูกเท้า (Metatarsal Pad) จะเป็นการลดแรงกระทำต่อจมูกเท้าและกระจายแนวแรงที่เกิดขึ้นไปบริเวณกระดูกส่วนกลางเท้า (neck and shaft of Metatarsal Bones) 2. เสริมอุ้งเท้าฝั่งด้านใน (Medial Arch Support) เพื่อดันเพิ่มให้เกิดกล้ามเนื้อของอุ้งเท้าและโครงสร้างกระดูกเท้าที่ปกติ และ ป้องกันการแบนล้มของอุ้งเท้าเข้ามาทางฝั่งด้านในในช่วงการยืนและเดิน 3.

  1. ความหมาย เท้าแบน รองเท้าสุขภาพ Talon
  2. Pictures
  3. Exercises
  4. เท้าแบน

ความหมาย เท้าแบน รองเท้าสุขภาพ Talon

คือพูดมายาวๆ แต่คร่าวสุดระดับบ้านๆแล้วเ นี่ย ก็เพื่อจะบอกว่า ที่นักวิ่งบ่นกันว่าเจ็บเอ็ นร้อยหวาย หรือ เจ็บส้นเท้ากันเนี่ย บางทีมันไม่ได้เริ่มและจบ วนๆอยู่ตรงข้อเท้าเท่านั้นน ะคะ สาเหตุมันเลยเถิดขึ้นมาอยู่ ที่น่องที่จะพูดถึงนี้ด้วย ดูรูปๆ จะได้ไม่งง 2. Tibialis posterior เป็นกล้ามเนื้อทอดตัวลงมาจา กหน้าแข้ง และน่อง กล้ามเนื้อชิ้นนี้จะช่วยกล้ ามเนื้อ gastrocnemius และ soleus ที่น่องในการ กดปลายเท้าลง (plantar flexion) และยังช่วยในการบิดข้อเท้าเ ข้าข้างใน (คนเท้าแพลงส่วนใหญ่เกิดจาก กล้ามเนื้อและเอ็นกล้ามเนื้ อไม่มีประสิทธิภาพในการทำงา นร่วมกันในการดึงทำให้ข้อต่ อกระชับ-บ่อยครั้งที่เกิดจา กน่องตึง และ trigger point ตำแหน่งที่จะพูดถึงในบทความ นี้) ต่อๆ เดี๋ยวเขว. เอ็นของกล้ามเนื้อชิ้นนี้ก็ จะทอดตัวไล่ลงมาในด้านในของ ขาท่อนล่าง มาที่กระดูกข้อเท้าด้านใน แล้วก็แผ่ออกไปเกาะตัวที่กร ะดูกที่เป็น arch ของเท้า (navicular bone) เอ็นของกล้ามเนื้อชิ้นนี้จะ ช่วยประคองหรือ ล็อคข้อเท้าเราให้อยู่กับที ่ในเวลาที่เราถีบเท้าออกจาก พื้น เพื่อไม่ให้ข้อเท้าบิด และก็ช่วยกระจายน้ำหนักไปทั ่วเท้า ไม่ใช่ลงน้ำหนักเพียงแค่จุด เดียว.

อาการปวดตาตุ่มด้านใน (โรค tibialis posterior dysfunction) เมื่อพูดถึงชื่อโรคเต็มๆอย่าง tibialis posterior dysfunction ผมเชื่อว่าหลายคนพอได้ยินชื่อนี้แล้วคงเกาหัวแกรกๆพร้อมกับสงสัยว่ามันคือโรคอะไรหว่า?

Pictures

การรักษาโดยการใช้ยาเช่นยา NSAIDs 2. การทำกายภาพบำบัด Iontophoresis เป็นการใช้คลื่น Ultrasound กระตุ้นให้เกิดการลดอาการอักเสบ Stretching และ Strengthening exercise โดยทำที่ เอ็นร้อยหวาย และ เอ็นด้านในข้อเท้า 3. Orthotic Brace และ Cast 4. การเลือกรองเท้าที่มีการหนุนที่ฝ่าเท้า (arch support) การรักษาเมื่อมาพบแพทย์ 1. การทำกายภาพบำบัดเพื่อลดอาการปวดและ การอักเสบเฉพาะที่ เช่น การทำอัลตราซาวน์ 2. การปรับรองเท้าให้เหมาะสม โดยการใช้ อุปกรณ์ เสริมบริเวณอุ้งเท้าด้านใน และบริเวณ ส้นเท้าโดย ใช้วัสดุที่มีความนุ่มและยืดหยุ่น 3. ถ้าการรักษาทุกอย่างทำให้อาการไม่ดีขึ้น หรือแย่ลงแพทย์จะพิจารณาถึงการรักษาโดยการ ส่องกล้องผ่าตัดต่อไป การป้องกัน การออกกำลังกายเพื่อยืดเอ็นร้อยหวายอย่างสม่ำเสมอ และการเลือกใส่รองเท้าที่เหมาะสม จะช่วยลดความเสี่ยงใน การเกิดโรค และช่วยป้อง กันการกลับเป็นซ้ำได้

posterior tibial tendon dysfunction คือ exercises
  1. Trigger point (จุดนวดคลาย) สำหรับนักวิ่งเทรล และ คนที่ปวดอุ้งเท้าด้านใน – Be Fit and Eat Well
  2. รถมอไซค์มือสอง ราคาถูก มาก
  3. เทพ ยุทธ์ สะบั้นฟ้าท้าสวรรค์ ภาค 3 พากย์ไทย
  4. Posterior tibial tendon dysfunction คือ icd 10
  5. ทํา กุยช่าย นึ่ง
  6. Sindhorn village ร้าน อาหาร
  7. ราคา โรส รอย

Exercises

posterior tibial tendon dysfunction คือ icd 10 code

จริงๆแล้วตอนแรกจะตั้งชื่อเรื่องยาวเป็นพิเศษ ว่าสำหรับ 'นักวิ่งเท้าแบน เจ็บอุ้งเท้า เอ็นร้อยหวาย ข้อเท้าพลิกบ่อย และปวดส้น'…ก็กลัวจะเด่นไป แต่ trigger point ที่จะเขียนถึงวันนี้นี่ครอบคลุมจักรวาลมากนะคะ. เพราะว่าบางทีอาการไม่ได้เกิดเรียงตามนี้ หรือบางทีเกิด แต่เราไม่ทันสังเกตเองก็เป็นได้ เดี๋ยวจะมีท่าทดสอบดู ว่าเราเป็นรึเปล่านะคะ มาดูกล้ามเนื้อสำคัญที่เกี่ ยวข้องกันก่อนนะคะ 1. Tendon Achilles (เอ็นร้อยหวาย) มีหน้าที่ร่วมกับกล้ามเนื้อ น่องและกระดูกส้นเท้าในการท ำงานของข้อเท้า แต่มันจะอยู่ลึกมากนะคะ. ทางการแพทย์ (เปล่านะ ไม่ใช่แพทย์- แต่ตอนเทรน Running Gait Analysis ครูเค้าสอนมาอ่ะค่ะ) ว่า เอ็นร้อยหวาย จะอยู่ระหว่างกล้ามเนื้อน่อ ง (Gastrocnemius) และกล้ามเนื้อ Soleus ซึ่งกล้ามเนื้อน่องสองตัวนี ้จะทอดตัวรวมกันลงไปเป็นเอ็ นร้อยห วาย ไปเกาะอยู่ที่ส้นเท้า (heel bone) มีหน้าที่เหยียดเท้า. ส่วนกล้ามเนื้อ Gastrocnemius จะมีหน้าที่ทำหน้าที่งอหลัง เท้า เหยียดนิ้วเท้า ถีบฝ่าเท้าลงและช่วยงอเข่าด ้วย สรุปคือช่วยเวลา ยืน เดิน กระโดด วิ่ง โดยเฉพาะคนที่มาเริ่มวิ่งเท ้าเปล่า จะรู้สึกเจ็บกล้ามเนื้อ Gastrocnemius มากพอดูค่ะ.

เท้าแบน

หมอเฟริส สิทธิพงษ์ มีภักดี Podiatric Medicine, Adv clinical pod. "สุขภาพที่ดี เริ่มต้นที่เท้า". คลินิกตรวจสุขภาพเท้า โดยผู้เชี่ยวชาญได้ที่โรงงาน ใกล้ Central พระราม 2 หรือช็อบบน ICON SIAM ในห้าง Siam Takashimaya ชั้น 2 แผนกรองเท้าสุขภาพ foot clinic เปิดบริการ จันทร์-เสาร์ 8. 30-17. 30 น. Tel 02-896-3800

ผู้ป่วยชายไทย อายุ 49 ปี มาด้วยอาการปวดฝ่าเท้าข้างขวา และเจ็บบริเวณใต้ตาตุ่มด้านในของเท้าข้างขวา เป็นมาประมาณ 5 เดือน จะมีอาการปวดมากขึ้นเมื่อมีการลงน้ำหนัก เช่นยืน เดิน เป็นต้น โดยสอบถามจากประวัติพบว่าลักษณะงานของผู้ป่วยจะมีการยืน เดิน อยู่ตลอดเวลา การตรวจร่างกายในผู้ป่วยรายนี้พบว่า 1. ฝ่าเท้ามีลักษณะแบน โดยที่ข้างขวาจะแบนกว่าข้างซ้าย 2. พบอาการบวมจากการอักเสบที่บริเวณ Tibialis posterior tendon 3. เมื่อทำการเคลื่อนไหว ไปในทิศทางกระดกปลายเท้าขึ้น ถีบปลายเท้าลง หมุนปลายเท้าเข้าด้านใน หมุนปลายเท้าออกทางด้านนอก พบว่ามีอาการปวดเพิ่มมากขึ้น 4.

เวลาที่เราจะเจ็บตรงอุ้งเท้ า บางครั้งเก ิดจากถ้ากล้ามเนื้อนี้อักเส บ และถ้าอ่อนแรงมากๆเข้า ก็จะเกิดโรคเท้าแบนที่เรียก ชื่อว่า tibialis posterior dysfunction (เท้าแบนจากเอ็นเสื่อม)ได้ค ่ะ. มีต่อ ขู่ได้อีก เรื่องนี้เก่ง. ถ้าบาดเจ็บที่เดิมนานเข้า และไม่รักษา เท้าเราก็จะ บิดเข้า (over pronation) แล้วก็มีอาการเจ็บปวดของคนเ ท้าแบนเข้ามาเพิ่มอีก. กลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงใ นการบาดเจ็บแบบนี้ คือ นักวิ่ง นักเดินป่า นักวิ่งป่า หรือคนที่ต้องเดินบนพื้นที่ ขรุขระ ไม่สม่ำเสมออยู่บ่อยๆ อาการที่อาจจะเกิดมาจาก trigger point จุดนี้. ⭕️ เจ็บที่อุ้งเท้า และเอ็นร้อยหวายเวลาที่เดิน หรือวิ่ง. ⭕️ อาการเจ็บนี้อาจจะเลยขึ้นมา ถึงน่อง หรือลงไปที่ส้นเท้า. ⭕️ ยิ่งถ้าไปเกินในบริเวณที่พื ้นดินไม่สม่ำเสมอ ทางลาด ที่ต้องประคองเท้า เกร็งเท้าเวลาเดิน พื้นกรวด จะเจ็บมากขึ้นไปอีก. ⭕️ นักวิ่งส่วนใหญ่ที่มีอาการเ อ็นน้อยหวายอักเสบ คือ เจ็บตรงเอ็นร้อยหวายตอนเริ่ มวิ่ง แล้วอาจจะค่อยๆหายไประหว่าง วิ่ง แล้วก็มาเจ็บใหม่ แต่เจ็บมากกว่าเดิมตอนหลังว ิ่ง ทดสอบอาการ. จุดเด่นของการที่จะรู้ว่าเอ ็น posterior tibial tendon ผิดปกตินั้น เราจะเจ็บที่เท้าด้านใน ตรงอุ้งเท้า และก็จะเรื่อยขึ้นมาที่ข้อเ ท้า แต่แค่นี้ก็อาจจะยังไม่ชัดว ่าเจ็บตรงไหน วิธีการที่ชัดที่สุดคือ การลองทำท่า single-leg heel raise หรือยืนเขย่งขาเดียวค่ะ.

เสริมลิ่มฝั่งด้านในของส้นเท้าเพื่อพลิกตะแคงส้นเท้าให้อยู่ในมุมที่ปกติ (Supinator Posterior Wedge) เพื่อแก้ไขและป้องกันการตะแคงล้มเข้ามาทางฝั่งด้านในของกระดูกส้นเท้า ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาเท้าแบนและแนวเท้าที่ผิดปกติ โดยการยกให้กระดูกส้นเท้าฝั่งด้านในให้หงายขึ้น